ประเพณี บาลิ ยาตรา ไม่แน่ชัด แต่ สาธพะ (พวกบรรพบุรุษชาวกาลิงคะผู้ออกเรือไปชวามลายู ที่ชาวโอริศารู้จักกันในชื่อ บาลิ) ถูกกล่าวถึงในอักษรพราหมี (ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 3 - สมัยพระเจ้าอโศก)
........................
ประเพณีดีวาลี หรือทีปาวลี มีปรากฏหลักฐานกล่าวถึงใน จารึกพระกฤษณะที่ 3 ของราชวงศ์ราษฏกูฏะ ประมาณ คริสต์ศตวรรษที่ 9 - 10
.....................
ประเพณี เทว ทีปาวลี ไม่แน่ชัด แต่ปรากฏเรื่องพระศิวะสังหารตรีปุรัม อ้างอิงถึงในปัทมปุราณะ ซึ่งเป็นวรรณคดี แต่งเมื่อประมาณคริสต์วรรษที่ 7 หรือเก่าแก่กว่า คริสต์ศตวรรษที่ 12 แต่ก็มีการแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับชื่อเมืองในอินเดียใต้เข้าไปในช่วงสมัยวิชัยนคร (คริสต์ศตวรรษที่ 13-15)
..................
สุโขทัย เริ่มปรากฏในประวัติศาสตร์ประมาณคริสตวรรษที่ 12
อยุธยา เริ่มปรากฏในประวัติศาสตร์ประมาณคริสตวรรษที่ 13
ธนบุรีและรัตนโกสินทร์ เริ่มสร้าง ประมาณคริสตวรรษที่ 17
(ทำเป็นพ.ศ. +543)
.................
อย่าไปตูเอาว่า เขมร ลาว รับประเพณีลอยกระทงไปจากไทย มันน่าอาย เรานะใหม่สุด พึ่งเกิดสมัยกรุงเทพ ฯ ไม่ใช่หรือ ?
........................
ประเพณีดีวาลี หรือทีปาวลี มีปรากฏหลักฐานกล่าวถึงใน จารึกพระกฤษณะที่ 3 ของราชวงศ์ราษฏกูฏะ ประมาณ คริสต์ศตวรรษที่ 9 - 10
.....................
ประเพณี เทว ทีปาวลี ไม่แน่ชัด แต่ปรากฏเรื่องพระศิวะสังหารตรีปุรัม อ้างอิงถึงในปัทมปุราณะ ซึ่งเป็นวรรณคดี แต่งเมื่อประมาณคริสต์วรรษที่ 7 หรือเก่าแก่กว่า คริสต์ศตวรรษที่ 12 แต่ก็มีการแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับชื่อเมืองในอินเดียใต้เข้าไปในช่วงสมัยวิชัยนคร (คริสต์ศตวรรษที่ 13-15)
..................
สุโขทัย เริ่มปรากฏในประวัติศาสตร์ประมาณคริสตวรรษที่ 12
อยุธยา เริ่มปรากฏในประวัติศาสตร์ประมาณคริสตวรรษที่ 13
ธนบุรีและรัตนโกสินทร์ เริ่มสร้าง ประมาณคริสตวรรษที่ 17
(ทำเป็นพ.ศ. +543)
.................
อย่าไปตูเอาว่า เขมร ลาว รับประเพณีลอยกระทงไปจากไทย มันน่าอาย เรานะใหม่สุด พึ่งเกิดสมัยกรุงเทพ ฯ ไม่ใช่หรือ ?
💥💥💥💥💥
💥 เทว ทีปาวลี หรือ เดว ดีวาลี (ดีวาลีในคืนเดือนเพ็ญ)
........
ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อเทศกาลดีวาลีของเทวดา มีการเฉลิมฉลองในวันการติก ปูรนิมา (วันเพ็ญในช่วงเดือนการติก คือช่วง ตุลาคม-พฤศจิกายน ตรงกับเดือน 12 ของไทย) เชื่อกันว่า พระศิวะ สังหารปีศาจตรีปุราสุระ หรือตรีปุระ อสูร ในวันนี้ การติก ปูรนิมาจึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า ตรีปุรี ปูรนิมา หรือตรีปุรารี ปูรนิมา
.......
ตามตำนานของตรีปุรี ปูรนิมา, อสูรตรีปุราสุระ ทั้ง 3 เอาชนะเหล่าทวยเทพและเริ่มปกครองอาณาจักรของพวกเขา (เมืองบนฟ้า เมืองพื้นพิภพ และเมืองในบาดาลโลก บางตำนานว่าเป็นดวงดาวสามดวง) เมื่อ ตรีปุราสุระทั้ง 3 ถูกสังหาร เหล่าทวยเทพต่างพากันชื่นชมยินดีและเฉลิมฉลองให้วันที่พวกเหล่าอสูรทั้ง 3 ตาย (หาอ่านได้ในตำรานารายณ์ยี่สิบปางฉบับคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์) ซึ่งคือวันการติก ปูรนิมา กลายเป็นวันแห่งแสงสว่าง ด้วยเหตุนี้ ตะเกียงดินเผาหลายพันดวงจึงถูกจุดไว้ที่วัดทุกแห่งและที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคาในวันการติกปูรนิมา (พิธีลอยกระทงบูชาแม่น้ำคงคาปกติทำทุกวัน แต่วันในวันนี้จะมีการทำการบูชาเป็นพิเศษ โดยเน้นไปที่การร้องเพลงบูชาริมฝั่งน้ำคงคา โดยจะมีคนไปลอยกระทงบ้างแต่ไม่ได้ไปลอยทุกคน บางครั้งทั้งพิธีกรรมจัดยิ่งใหญ่วันนั้นมีคนไปลอยกระทงแค่คน หรือ 2 คน อินเดียเลยไม่มีปัญหากระทงล้นคลองแล้วกระทงเข้าเป็นกระทงง่าย ๆ เล็ก ๆ ใหญ่กว่ากระทงใส่ขนมเข่งของไทยเล็กน้อย)
............
หมายเหตุ
1) เทศกาลดีวาลี ปกติจะจัดในช่วงเดือนมืดของเดือนการติก เริ่มจากแรม 11 หรือ 12 - ขึ้น 1 ค่ำ วันที่เป็นวันแรม 15 ค่ำวันเดือนดับ เป็นวันที่พระยายมมาเยี่ยมชาวโลก จึงจุดตะเกียงบูชา บางตำนานก็ว่าพระลักษมี โดยในปี พ.ศ. 2566 วันดีวาลี หรือทิปาวลี ตรงกลับวันที่ 12 พฤศจิกายน (เชื่อว่าพระรามพานางสีดากลับถึงเมืองวันนี้)
.............................................
โดยเริ่มฉลองพระแม่โคสวรรค์วันที่ 9 พ.ย. 66
และรับพระแม่ลักษมีที่ออกจากเกษียรสมุทรตั้งที่วันที่ 10 พ.ย. 66
วันที่ 12 พระรามพานางสีดาและพรรคพวกกลับถึงเมืองอโยธยา
วันที่ 13 เป็นวันเดือนดับ พระยมหรือพระลักษมีเยี่ยมชาวโลกจุดประทีปถวาย
14 พฤศจิกายน บูชาพระกฤษณะปางเถิดเขาโควัรธนะ เหมือนเป็นการฉลองเดือนข้างแรมในเดือนการติกของอินเดีย (ฤดูเก็บเกี่ยว)
..................
2) เทศกาล เทว ทีปาวลี (เทศกาลดีวาลีของเทวดา) จะจัดในเดือนเพ็ญภายในเดือนการติก (เดือน 12 ของอินเดีย เรียกว่า การติกปูรนิมา) มักตรงกับเทศกาลลอยกระทงไทยทุกปี แต่เนื่องจาก การติก ปูรนิมาเป็นวัน คุรุนานัก ชยัญตรีด้วย (เชื่อว่า คุรุนานัก เป็นศาสดาคนสำคัญของศาสนาสิกข์ เกิดในวันเพ็ญเดือนการติกนี้) ทำให้คนอินเดียเหนือที่นับถือสิกข์ไปสนใจบูชาคุรุนานักมากกว่า
...................
ส่วนใหญ่ เทว ทีปาวลีจะจัดและให้ความสำคัญมากในอินเดียใต้ ในบางพื้นที่แม้ว่าจะไม่ติดกับแม่น้ำคงคา อยู่บนภูเขาก็จะจุดประทีปบูชาสว่างเต็มภูเขาในวันนี้ เทศกาลนี้บางครั้งคนอินเดียใต้เรียกว่า การติก ดีวาลี หรือการต-ติ-ไก ทีปะ ก็มี
................
สรุป
ดีวาลี - เดือนดับ ในเดือน 12 (เดือนการติกของอินเดีย)
เทว ทิปาวลี - เดือนเพ็ญ ในเดือน 12 (เดือนการติกของอินเดีย)
🌟 (เทศกาล) บาลิ ยาตรา ବାଲିଯାତ୍ରା หรือ बालि यात्रा (ท่องเทียวไปในบาหลี)
ของรัฐโอริสสา ในวันเพ็ญเดือน 12 (การติก ปูรนิมา)
...............
เทศกาลลอยเรือกาบกล้วย หรือกระทง ทำจากกระดาษ ฯลฯ ติดเทียน ระลึกบรรพบุรุษ และขอพรของชาวโอดีสี แห่งรัฐโอริสสาในวันเพ็ญเดือน 12 (การติก ปูรนิมา)
ที่แม่น้ำ เพื่อเป็นการระลึกถึงการเดินเรือไปค้าขายในดินแดนบาหลี (เขารวมเอา ชวามลายู ทั้งหมด) ของชาวแคว้นกาลิงคะ มาแต่ครั้งโบราณ
..........
ตอนกลางคืนมีการเฉลิมฉลองร้องเพลงระลึกถึงการเดินทางค้าขายของบรรพบุรุษในครั้งโบราณ
การต-ติ-ไก ทีปะ วิฬา (เทศกาล ดีวาลี เดือนการติก หรือเทศกาลบูชาพระประทีปของทมิฬวันลอยกระทงเริ่มแล้ว)
....
การต-ติ-ไก คือ วันเดือน 12
ทีป คือ ประทีป หรือ ดีวาลี
วิฬา (อ่าน วิ หล้า) คือ เทศกาล (ภาษาทมิฬ)
........
ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อเทศกาลดีวาลีของเทวดา มีการเฉลิมฉลองในวันการติก ปูรนิมา (วันเพ็ญในช่วงเดือนการติก คือช่วง ตุลาคม-พฤศจิกายน ตรงกับเดือน 12 ของไทย) เชื่อกันว่า พระศิวะ สังหารปีศาจตรีปุราสุระ หรือตรีปุระ อสูร ในวันนี้ การติก ปูรนิมาจึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า ตรีปุรี ปูรนิมา หรือตรีปุรารี ปูรนิมา
.......
ตามตำนานของตรีปุรี ปูรนิมา, อสูรตรีปุราสุระ ทั้ง 3 เอาชนะเหล่าทวยเทพและเริ่มปกครองอาณาจักรของพวกเขา (เมืองบนฟ้า เมืองพื้นพิภพ และเมืองในบาดาลโลก บางตำนานว่าเป็นดวงดาวสามดวง) เมื่อ ตรีปุราสุระทั้ง 3 ถูกสังหาร เหล่าทวยเทพต่างพากันชื่นชมยินดีและเฉลิมฉลองให้วันที่พวกเหล่าอสูรทั้ง 3 ตาย (หาอ่านได้ในตำรานารายณ์ยี่สิบปางฉบับคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์) ซึ่งคือวันการติก ปูรนิมา กลายเป็นวันแห่งแสงสว่าง ด้วยเหตุนี้ ตะเกียงดินเผาหลายพันดวงจึงถูกจุดไว้ที่วัดทุกแห่งและที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคาในวันการติกปูรนิมา (พิธีลอยกระทงบูชาแม่น้ำคงคาปกติทำทุกวัน แต่วันในวันนี้จะมีการทำการบูชาเป็นพิเศษ โดยเน้นไปที่การร้องเพลงบูชาริมฝั่งน้ำคงคา โดยจะมีคนไปลอยกระทงบ้างแต่ไม่ได้ไปลอยทุกคน บางครั้งทั้งพิธีกรรมจัดยิ่งใหญ่วันนั้นมีคนไปลอยกระทงแค่คน หรือ 2 คน อินเดียเลยไม่มีปัญหากระทงล้นคลองแล้วกระทงเข้าเป็นกระทงง่าย ๆ เล็ก ๆ ใหญ่กว่ากระทงใส่ขนมเข่งของไทยเล็กน้อย)
............
หมายเหตุ
1) เทศกาลดีวาลี ปกติจะจัดในช่วงเดือนมืดของเดือนการติก เริ่มจากแรม 11 หรือ 12 - ขึ้น 1 ค่ำ วันที่เป็นวันแรม 15 ค่ำวันเดือนดับ เป็นวันที่พระยายมมาเยี่ยมชาวโลก จึงจุดตะเกียงบูชา บางตำนานก็ว่าพระลักษมี โดยในปี พ.ศ. 2566 วันดีวาลี หรือทิปาวลี ตรงกลับวันที่ 12 พฤศจิกายน (เชื่อว่าพระรามพานางสีดากลับถึงเมืองวันนี้)
.............................................
โดยเริ่มฉลองพระแม่โคสวรรค์วันที่ 9 พ.ย. 66
และรับพระแม่ลักษมีที่ออกจากเกษียรสมุทรตั้งที่วันที่ 10 พ.ย. 66
วันที่ 12 พระรามพานางสีดาและพรรคพวกกลับถึงเมืองอโยธยา
วันที่ 13 เป็นวันเดือนดับ พระยมหรือพระลักษมีเยี่ยมชาวโลกจุดประทีปถวาย
14 พฤศจิกายน บูชาพระกฤษณะปางเถิดเขาโควัรธนะ เหมือนเป็นการฉลองเดือนข้างแรมในเดือนการติกของอินเดีย (ฤดูเก็บเกี่ยว)
..................
2) เทศกาล เทว ทีปาวลี (เทศกาลดีวาลีของเทวดา) จะจัดในเดือนเพ็ญภายในเดือนการติก (เดือน 12 ของอินเดีย เรียกว่า การติกปูรนิมา) มักตรงกับเทศกาลลอยกระทงไทยทุกปี แต่เนื่องจาก การติก ปูรนิมาเป็นวัน คุรุนานัก ชยัญตรีด้วย (เชื่อว่า คุรุนานัก เป็นศาสดาคนสำคัญของศาสนาสิกข์ เกิดในวันเพ็ญเดือนการติกนี้) ทำให้คนอินเดียเหนือที่นับถือสิกข์ไปสนใจบูชาคุรุนานักมากกว่า
...................
ส่วนใหญ่ เทว ทีปาวลีจะจัดและให้ความสำคัญมากในอินเดียใต้ ในบางพื้นที่แม้ว่าจะไม่ติดกับแม่น้ำคงคา อยู่บนภูเขาก็จะจุดประทีปบูชาสว่างเต็มภูเขาในวันนี้ เทศกาลนี้บางครั้งคนอินเดียใต้เรียกว่า การติก ดีวาลี หรือการต-ติ-ไก ทีปะ ก็มี
................
สรุป
ดีวาลี - เดือนดับ ในเดือน 12 (เดือนการติกของอินเดีย)
เทว ทิปาวลี - เดือนเพ็ญ ในเดือน 12 (เดือนการติกของอินเดีย)
🌕🌟🌕🌟🌕🌟🌕🌟🌕
🌟 (เทศกาล) บาลิ ยาตรา ବାଲିଯାତ୍ରା หรือ बालि यात्रा (ท่องเทียวไปในบาหลี)
ของรัฐโอริสสา ในวันเพ็ญเดือน 12 (การติก ปูรนิมา)
...............
เทศกาลลอยเรือกาบกล้วย หรือกระทง ทำจากกระดาษ ฯลฯ ติดเทียน ระลึกบรรพบุรุษ และขอพรของชาวโอดีสี แห่งรัฐโอริสสาในวันเพ็ญเดือน 12 (การติก ปูรนิมา)
ที่แม่น้ำ เพื่อเป็นการระลึกถึงการเดินเรือไปค้าขายในดินแดนบาหลี (เขารวมเอา ชวามลายู ทั้งหมด) ของชาวแคว้นกาลิงคะ มาแต่ครั้งโบราณ
..........
ตอนกลางคืนมีการเฉลิมฉลองร้องเพลงระลึกถึงการเดินทางค้าขายของบรรพบุรุษในครั้งโบราณ
⏰⏰⏰⏰⏰⏰⏰
สมัยพุทธกาล: พระพุทธเจ้าลอยถาดเสี่ยงทาย
ปัจจุบัน: ชาวไทยลอยกระทงเสี่ยงทาย
...........
ประเพณีลอยกระทงวันเพ็ญเดือน 12 ได้มาจากเหตุกาลนี้ในสมัยพุทธกาล แต่แนวคิดเรื่องการลอยพาชนะเสี่ยงทายมีมาแต่ครั้งพุทธกาลแล้ว
กระทงก็เป็นพาชนะใส่อาหารและของต่าง ๆ มาแต่ครั้งโบราณเช่นกัน
ปัจจุบัน: ชาวไทยลอยกระทงเสี่ยงทาย
...........
ประเพณีลอยกระทงวันเพ็ญเดือน 12 ได้มาจากเหตุกาลนี้ในสมัยพุทธกาล แต่แนวคิดเรื่องการลอยพาชนะเสี่ยงทายมีมาแต่ครั้งพุทธกาลแล้ว
กระทงก็เป็นพาชนะใส่อาหารและของต่าง ๆ มาแต่ครั้งโบราณเช่นกัน
🕑🕒🕓🕔🕕🕖🕘
💥💥💥💥💥💥💥💥
👳👳👳👳👳👳👳
....
การต-ติ-ไก คือ วันเดือน 12
ทีป คือ ประทีป หรือ ดีวาลี
วิฬา (อ่าน วิ หล้า) คือ เทศกาล (ภาษาทมิฬ)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น