1 รามลีลา (รามายณะ) ของอินเดียเหนือที่แสดงรามจริตของตุลสีทาส
2 การสวดพระเวทตามประเพณีฮินดู
3 กูฏิยาฏฏัม (กถะกะฬิ ที่แสดงด้วยภาษาสันสกฤต) ของรัฐเกรละ
4 รัมมาณ การแสดงในเทศกาลของเขตคัรหะวาล มณฑล गढ़वाल मण्डल ในอุตตะราขัณฑะ उत्तराखण्ड ของอินเดีย
5 มุฎิเยฏฏะ หรือ มุฑิเยฏ เป็นการแสดงนาฏกรรมของรัฐเกรละ (ภาษามลายะลัม) ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับอิทธิฤทธิ์ของเจ้าแม่ภัทรกาลี ที่ฆ่าอสูรทาริกา กับ ทานเวนทรา ที่ได้พรจากพระพรหมว่าใครก็ฆ่าไม่ตายนอกจากผู้หญิง
6 การแสดงของเผ่า กาละเพลิยา कालबेलिया ในราชสถาน
7. เฉาว์ นาฏกรรมของรัฐเบงกอล นิยมแสดงเรื่องรามายณะ มหาภารตะ และปุราณะต่าง ๆ
8 การสวดมนต์ของชาวพุทธ (น่าจะมหายาน) ในตอนเหนือทั้งรัฐหิมาจัล จัมมู ลัททาข (Ladakh)
9. สังกีรฺตะนะ संकीर्तन เพลง ระบำ ละคร และการแสดงของชาวมณีปุรี ร่วมทั้งรำกลองแขกของมณีปุรีด้วย
10. เครื่องทองเหลืองและทองแดงของรัฐปัญจาบ (น่าจะเป็นเทคนิค)
11. โยคะ
12. การแสดงของเผ่านอโรซ नौरोज़ หรือชาวเปอร์เซียในอินเดีย ในปีใหม่ของชาวเผ่านี้คือวันที่ 21 มีนาคม (ที่อินเดียนุ่งห่มสุภาพเรียบร้อยไม่โชว์พุง) เปอร์เซียก็คืออีหร่าน วันปีใหม่อีหร่านจัดโดยชาวอินเดียเชื่อสายอีหร่าน ก็เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอินเดียได้ อยู่ที่ใครจดและให้ความสำคัญ
13. ประเพณีกุมภะเมลา ของอินเดียเหนือ
14. ทุรคาบูชา หมายรวมเอา นวราตรี (ส่วนใหญ่ตรงกับกินเจทุกปี แต่ไทยพยายามเปลี่ยนไม่ให้ตรง พอคนไม่สังเกตก็กลับมาตรงกันใหม่ อาจจะเป็นเรื่องโหราศาสตร์อินเดียและจีนใช้จันทรคติเหมือนกัน แต่พยายามสร้างความแตกต่าง เชื่อว่าอีกหน่อยสงกรานต์ไทย ก็จะพยามจัดไม่ตรงกับ เมษสังกราติของอินเดียนั้นแหละ อย่างอินเดียก็ไม่สนใจจดอยู่แล้ว)
ที่มา : https://www.authenticindiatours.com/2022/11/28/intangible-cultural-heritage-of-india/
2 การสวดพระเวทตามประเพณีฮินดู
3 กูฏิยาฏฏัม (กถะกะฬิ ที่แสดงด้วยภาษาสันสกฤต) ของรัฐเกรละ
4 รัมมาณ การแสดงในเทศกาลของเขตคัรหะวาล มณฑล गढ़वाल मण्डल ในอุตตะราขัณฑะ उत्तराखण्ड ของอินเดีย
5 มุฎิเยฏฏะ หรือ มุฑิเยฏ เป็นการแสดงนาฏกรรมของรัฐเกรละ (ภาษามลายะลัม) ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับอิทธิฤทธิ์ของเจ้าแม่ภัทรกาลี ที่ฆ่าอสูรทาริกา กับ ทานเวนทรา ที่ได้พรจากพระพรหมว่าใครก็ฆ่าไม่ตายนอกจากผู้หญิง
6 การแสดงของเผ่า กาละเพลิยา कालबेलिया ในราชสถาน
7. เฉาว์ นาฏกรรมของรัฐเบงกอล นิยมแสดงเรื่องรามายณะ มหาภารตะ และปุราณะต่าง ๆ
8 การสวดมนต์ของชาวพุทธ (น่าจะมหายาน) ในตอนเหนือทั้งรัฐหิมาจัล จัมมู ลัททาข (Ladakh)
9. สังกีรฺตะนะ संकीर्तन เพลง ระบำ ละคร และการแสดงของชาวมณีปุรี ร่วมทั้งรำกลองแขกของมณีปุรีด้วย
10. เครื่องทองเหลืองและทองแดงของรัฐปัญจาบ (น่าจะเป็นเทคนิค)
11. โยคะ
12. การแสดงของเผ่านอโรซ नौरोज़ หรือชาวเปอร์เซียในอินเดีย ในปีใหม่ของชาวเผ่านี้คือวันที่ 21 มีนาคม (ที่อินเดียนุ่งห่มสุภาพเรียบร้อยไม่โชว์พุง) เปอร์เซียก็คืออีหร่าน วันปีใหม่อีหร่านจัดโดยชาวอินเดียเชื่อสายอีหร่าน ก็เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอินเดียได้ อยู่ที่ใครจดและให้ความสำคัญ
13. ประเพณีกุมภะเมลา ของอินเดียเหนือ
14. ทุรคาบูชา หมายรวมเอา นวราตรี (ส่วนใหญ่ตรงกับกินเจทุกปี แต่ไทยพยายามเปลี่ยนไม่ให้ตรง พอคนไม่สังเกตก็กลับมาตรงกันใหม่ อาจจะเป็นเรื่องโหราศาสตร์อินเดียและจีนใช้จันทรคติเหมือนกัน แต่พยายามสร้างความแตกต่าง เชื่อว่าอีกหน่อยสงกรานต์ไทย ก็จะพยามจัดไม่ตรงกับ เมษสังกราติของอินเดียนั้นแหละ อย่างอินเดียก็ไม่สนใจจดอยู่แล้ว)
ที่มา : https://www.authenticindiatours.com/2022/11/28/intangible-cultural-heritage-of-india/
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น